สมบัติของธาตุและสารประกอบและการแยกสาร
ชนิดของสาร
1. สารเนื้อเดียว เมื่อสังเกตด้วยตาเปล่า เราจะมองเห็นสารเนื้อเดียวมีลักษณะของเนื้อสารกลมกลืนกันไปเป็นเนื้อเดียว
1.1 สารบริสุทธิ์
- ธาตุ ประกอบด้วยอนุภาคของอะตอมเพียงชนิดเดียวเท่านั้น
- โลหะ เช่น ทองคำ (Au) เงิน (Ag) เหล็ก (Fe) สังกะสี (Zn)
- อโลหะ ก๊าซออกซิเจน (O2) ก๊าซไนโตรเจน (N2) คาร์บอน (C)
- กึ่งโลหะ เช่น ซิลิกอน (Si) เจอร์เมเนียม (Ge)
- สารประกอบ เป็นสารบริสุทธิ์ที่ประกอบไปด้วยอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน
1.2 สารละลาย เป็นสารที่สามารถแยกองค์ประกอบออกจากกันได้มากกว่าสองชนิดขึ้นไปโดยกระบวนการทางกายภาพ เช่น การกลั่น การกรอง การต้ม มีอนุภาคขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 10-7 เซนติเมตร
2. สารเนื้อผสม สารเนื้อผสมประกอบด้วยอะตอมหรือโมเลกุลมากกว่า 2 ชนิดขึ้นไปรวมกันอยู่ และสามารถแยกออกจากกันได้ด้วยวิธีทางกายภาพ เมื่อสังเกตด้วยตาเปล่าจะเห็นว่าเนื้อสารไม่กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน
2.1 คอลลอยด์ เป็นสารเนื้อผสมที่มีอนุภาคของแข็งขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 10-4 เซนติเมตร
ชนิดของคอลลอยด์ |
สถานะในตัวกลาง |
สถานะของตัวกลาง |
อิมัลชัน |
ของเหลว |
ของเหลว |
แอโรซอล |
ของเหลว |
แก๊ส |
เจล |
ของแข็ง |
ของเหลว |
โฟม |
แก๊ส |
ของเหลว |
2.2 สารแขวนลอย เป็นสารผสมที่ประกอบด้วยอนุภาคที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 10-7 - 10-4 เซนติเมตร
ปรากฏการณ์ทินดอลล์ (The Tyndall Effect)
ปรากฏการณ์ทินดอลล์เป็นปรากฏการณ์ทางแสงที่เกิดจากการเปลี่ยนทิศทางการแผ่ของแสง เมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่ไม่ใช่สารเนื้อเดียว จะทําให้สารนั้นเปล่งแสงออกมา เรียกว่า การกระเจิงของแสง
การแยกสาร
1. Filtration separation method
2. distillation และ steam distillation
3. fractional distillation
4. crystallization
5.chromatography