คำไทยแท้
ทีมงานทรูปลูกปัญญา
|
06 ส.ค. 64
 | 54.7K views



คําไทยแทมีลักษณะสังเกตได ดังนี้

1. คําไทยแทสวนมากเปนคําพยางคเดียว และมีความหมายสมบูรณในตัวเอง เชน พอ แม พี่ นอง ไร นา หมา แมว รอน ดิน นํ้า ลม ไฟ ฟา ผม เจา ไป นั่ง นอน กิน ฝูง อัน อวน ผอม ชั่ว ดี ชาว ดํา หนึ่ง สอง สาม หลาย ยาว สั้น ไม ใจ เปนตน ขอสังเกต! คําไทยแทเมื่ออานแลวจะเขาใจความหมายไดทันทีเลย ไมตองแปลอีกรอบหนึ่ง

 

2. คําไทยแทไมนิยมคําควบกลํ้า เชน เรา ไร ดี ดาบ หิน เปนตน

 

3. คําไทยแทมักจะสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด เชน ชก ฟด โยน วัด พบ ยิง โนม จิ้ม กัด ผม จวบ เปนตน

 

4. คําไทยแทจะไมมีตัวการันต เชน ยัน สัด สัน เปนตน

       ระวัง! * คําไทยแทที่มีตัวการันตมีอยูบางเนื่องจากการแผลงอักษร เชน แผลง ผิว เปน ผี้ว แปลวา ถาหากวา มาห แปลวา ผี ยักษ เยียร แปลวา งามยิ่ง

 

5. คําไทยแทจะไมใชพยัญชนะเหลานี้ ไดแก ฆ ฌ ญ ฏ ฎ ฐ ฑ ณ ฒ ธ ภ ฬ ศ ษ ยกเวน ถาพบคําพวกนี้จําไวเลยวาเปนคําไทยแท ไดแก ฆา เฆี่ยน ฆอง ระฆัง ศึก เศิก ศอก เศรา พิศ หญิง ใหญ หญา ณ ธ ธง เธอ สะใภ อําเภอ สําเภา

 

6. ภาษาไทยเปนภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต ทําใหคําเกิดระดับเสียงตางกันและทําใหคํามีความหมายตางกันไปดวย เชน เสือ เสื่อ เสื้อ ปา ปา ปา ปา ปา นา นา นา เปนตน

 

7. คําไทยแทอาจมีมากกวา 1 พยางค ซึ่งเกิดจาก

       7.1 การเพิ่มเสียงหนาศัพท เชน
              คบ = ประคบ
              จวบ = ประจวบ
              ทํา = กระทํา
              โดด = กระโดด
              แอม = กระแอม
              คึก = คะคึก
              ริก = ระริก
              ฉาด = ฉะฉาด
              อุม = ชอุม
              นกยาง = นกกระยาง
              ลูกดุม = ลูกกระดุม
              โงก = ชะโงก ​
       7.2 การกลายเสียงตามการเปลี่ยนแปลงของภาษา (การกรอนเสียง) เชน
              หมากมวง = มะมวง
              หมากพราว = มะพราว
              ตัวเข = ตะเข
              ตาวัน = ตะวัน
              ตาปู = ตะปู
              ตากรา = ตะกรา
              ตนเคียน = ตะเคียน
              ตนโก = ตะโก
              ตนไคร = ตะไคร
              สายเอว = สะเอว
              สายดือ = สะดือ
              สายดึง = สะดึง

 

สิ่งที่นองควรระวังไว คําบางคําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราจะไมใชคําไทยแท เชน โลก กาย ชน วัย ชัย เดิน โปรด เปนตน
คําบางคําที่มีลักษณะเหมือนคําไทยแท แตเปนคําที่เราไมรูความหมายและไมไดใชในชีวิตประจําวันจะไมใชคําไทยแท เชน แสะ แข บาย ชน
คําเหลานี้มักพบในวรรณคดี ซึ่งแปลวา มา ดวงจันทร ขาว คน ตามลําดับ
นอกจากนี้ยังมีคําไทยแทบางคําที่สะกดไมตรงตามมาตรามีใชในคําประพันธ เชน ดูกร มาจาก ดูกอน อรชร มาจาก ออนชอย