Cancel
ติดต่อเรา
login
|
register
Home
Education
Classroom
Knowledge
Blog
TV
ธรรมะ
กิจกรรม
โครงการทรูปลูกปัญญา
ที่มาและประวัติ
Highlights
Freenet
Application
หน้าแรก Plook Dharma
ข่าวธรรมะ
สามเณรปลูกปัญญาธรรม
เสียงธรรม
ค่ายวัยใส
บทความธรรม
บทความธรรม
คลิปธรรม
เสียงธรรม
บทสวดมนต์
วัดและสถานที่ปฏิบัติธรรม
ภาพรวมกิจกรรม
School Tour
Young Producer Award
รู้ทันโลกออนไลน์
หน้าแรก TV
ข่าวและกิจกรรม
รายการออนไลน์
รายการย้อนหลัง
ข่าวการศึกษา
Plook Classroom
Upskill
คลังบทเรียน
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
อาชีวศึกษา
อุดมศึกษา
Plook Tutor
คลังข้อสอบ
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
Smart Exams
Quiz
แนะแนว Plook Guidance
หน้าแรก Plook Explorer
ระบบค้นหาตัวเอง
รู้จักตนเอง
รู้จักอาชีพ
เลือกอาชีพ
เส้นทางสู่อาชีพ
ทำก่อนฝัน
คู่มือแนะแนวสำหรับคุณครู
คู่มือแนะแนวสำหรับผู้ปกครอง
คู่มือแนะแนวสำหรับโรงเรียน
TCAS
Plook TCAS
ข่าวรับตรง
ข่าวค่าย
TCAS Plan
Schooltour
GAT/PAT
9 วิชาสามัญ
O-NET
ครู
หน้าแรก Plook Teacher
การจัดการเรียนรู้
แผนการสอน
ผลงานวิชาการ
โครงการทรูปลูกปัญญา
All menu
home
Education
Classroom
Knowledge
Blog
TV
ธรรมะ
กิจกรรม
Cancel
login
|
register
ที่มาและประวัติ
Highlights
Freenet
Application
หน้าแรก Plook Dharma
ข่าวธรรมะ
สามเณรปลูกปัญญาธรรม
เสียงธรรม
ค่ายวัยใส
บทความธรรม
บทความธรรม
คลิปธรรม
เสียงธรรม
บทสวดมนต์
วัดและสถานที่ปฏิบัติธรรม
ภาพรวมกิจกรรม
School Tour
Young Producer Award
รู้ทันโลกออนไลน์
หน้าแรก TV
ข่าวและกิจกรรม
รายการออนไลน์
รายการย้อนหลัง
ข่าวการศึกษา
Plook Classroom
Upskill
คลังบทเรียน
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
อาชีวศึกษา
อุดมศึกษา
Plook Tutor
คลังข้อสอบ
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
Smart Exams
Quiz
แนะแนว Plook Guidance
หน้าแรก Plook Explorer
ระบบค้นหาตัวเอง
รู้จักตนเอง
รู้จักอาชีพ
เลือกอาชีพ
เส้นทางสู่อาชีพ
ทำก่อนฝัน
คู่มือแนะแนวสำหรับคุณครู
คู่มือแนะแนวสำหรับผู้ปกครอง
คู่มือแนะแนวสำหรับโรงเรียน
TCAS
Plook TCAS
ข่าวรับตรง
ข่าวค่าย
TCAS Plan
Schooltour
GAT/PAT
9 วิชาสามัญ
O-NET
ครู
หน้าแรก Plook Teacher
การจัดการเรียนรู้
แผนการสอน
ผลงานวิชาการ
โครงการทรูปลูกปัญญา
EDUCATION
ข่าวการศึกษา
คลังบทเรียน
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
อาชีวศึกษา
อุดมศึกษา
คลังข้อสอบ
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
Smart Exams
Quiz
แนะแนว Plook Guidance
หน้าแรก Plook Explorer
ระบบค้นหาตัวเอง
รู้จักตนเอง
รู้จักอาชีพ
เลือกอาชีพ
เส้นทางสู่อาชีพ
ทำก่อนฝัน
คู่มือแนะแนวสำหรับคุณครู
คู่มือแนะแนวสำหรับผู้ปกครอง
คู่มือแนะแนวสำหรับโรงเรียน
TCAS
หน้าแรก TCAS
ข่าวรับตรง
ข่าวค่าย
TCAS Plan
Schooltour
GAT/PAT
9 วิชาสามัญ
O-NET
ครู
หน้าแรก Plook Teacher
การจัดการเรียนรู้
แผนการสอน
ผลงานวิชาการ
โครงการทรูปลูกปัญญา
Classroom
หน้าแรก Classroom
TV
หน้าแรก TV
ข่าวและกิจกรรม
รายการออนไลน์
รายการย้อนหลัง
ผังรายการ
KNOWLEDGE
หน้าแรก Plook Knowledge
FRIENDS
หน้าแรก Plook Friends
ธรรมะ
หน้าแรก Plook Dharma
ข่าวธรรมะ
สามเณรปลูกปัญญาธรรม
ปลูกปัญญาธรรม พุทธเรดิโอ
บทความธรรม
คลิปธรรม
เสียงธรรม
บทสวดมนต์
วัดและสถานที่ปฏิบัติธรรม
PLOOK MAGAZINE
หน้าแรก Plook Magazine
อ่านย้อนหลัง
กิจกรรม
ภาพรวมกิจกรรม
School Tour
Young Producer Award
รู้ทันโลกออนไลน์
Blog
หน้าแรก Plook Blog
เขียน Blog
โครงการทรูปลูกปัญญา
ที่มาและประวัติ
Highlights
Freenet
Application
About us
ทรูปลูกปัญญา
ทรูปลูกปัญญา มีเดีย
แจ้งปัญหาการใช้งาน
ติดต่อเรา
Partnership
Login
|
Register
Home
Education
ข่าวการศึกษา
คลังบทเรียน
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
อาชีวศึกษา
อุดมศึกษา
สอนศาสตร์
คลังข้อสอบ
คลังข้อสอบ
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
Smart Exams
Quiz
แนะแนว Plook Guidance
หน้าแรก Plook Explorer
ระบบค้นหาตัวเอง
รู้จักตนเอง
รู้จักอาชีพ
เลือกอาชีพ
เส้นทางสู่อาชีพ
ทำก่อนฝัน
คู่มือแนะแนวสำหรับคุณครู
คู่มือแนะแนวสำหรับผู้ปกครอง
คู่มือแนะแนวสำหรับโรงเรียน
Admissions
หน้าแรก TCAS
ข่าวรับตรง
ข่าวค่าย
9 วิชาสามัญ
O-NET
TCAS
หน้าแรก TCAS
ข่าวรับตรง
ข่าวค่าย
Schooltour
GAT/PAT
9 วิชาสามัญ
O-NET
ครู
หน้าแรก Plook Teacher
การจัดการเรียนรู้
แผนการสอน
ผลงานวิชาการ
โครงการทรูปลูกปัญญา
Classroom
Knowledge
Blog
TV
หน้าแรก TV
ข่าวและกิจกรรม
รายการออนไลน์
รายการย้อนหลัง
ผังรายการ
ธรรมะ
หน้าแรก Plook Dharma
ข่าวธรรมะ
สามเณรปลูกปัญญาธรรม
ปลูกปัญญาธรรม พุทธเรดิโอ
ค่ายวัยใส
บทความธรรม
คลิปธรรม
เสียงธรรม
บทสวดมนต์
วัดและสถานที่ปฏิบัติธรรม
กิจกรรม
ภาพรวมกิจกรรม
School Tour
Young Producer Award
รู้ทันโลกออนไลน์
โครงการทรูปลูกปัญญา
ที่มาและประวัติ
Highlights
Freenet
Application
ติดต่อเรา
แจ้งปัญหาการใช้งาน
Home
>
Knowledge
>
ค้นหาตัวตน/แนะแนว
รุ่นพี่ รีวิว มศว นวัตกรรมสื่อสารสังคม เอกการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล COSCI
Posted By plook explorer | 24 ม.ค. 68
586 Views
Favorite
วิทยาศาสตร์ 1
วิทยาศาสตร์ 2
วิทยาศาสตร์ 3
วิทยาศาสตร์ 4
วิทยาศาสตร์ 5
สำหรับน้อง ๆ ที่สนใจเรียนเกี่ยวกับ การตัดต่อ การถ่ายรูป ถ่ายวิดีโอ การทำงานเบื้องหลัง ขอแนะนำ พี่แม็กซ์ อิมโมเนน จากวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม สาขาวิชาการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ นิสิตชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 14 มารีวิวการเตรียมตัวสอบ ไปจนถึงการเรียนในระดับมหาวิทยาลัย จะเป็นอย่างไรบ้าง มาดูกัน
การเตรียมตัวเข้ามหาลัย
- เหตุผลที่เลือกเรียนมหาวิทยาลัยนี้
เพราะว่ารู้ตัวตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่สี่ว่าอยากเรียนสายนิเทศศาสตร์ จึงเอาหลักสูตรสายนิเทศศาสตร์ในประเทศไทยมากางดูปรากฏว่าหลักสูตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็นการเรียนทางภาพยนตร์และทางด้านการผลิตสื่อดิจิทัล จึงเป็นคณะที่ตั้งเป้าหมายมาตั้งแต่นั้นเพราะเป็นคนที่อยากเรียนรู้ทั้งสองสายไปด้วยกัน
- เหตุผลที่เลือกเรียน คณะ/สาขาวิชานี้
อย่างที่บอกไปว่าเราเป็นคนที่รู้ตัวตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่สี่ ว่าเราเป็นคนที่อยากเรียนทางด้านนิเทศศาสตร์ และพอนำหลักสูตรนิเทศศาสตร์ในประเทศไทยมาดูก็พบว่า คณะนี้แค่ชื่อก็แปลกแล้วเพราะชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่าวิทยาลัยไม่ใช่คำว่าคณะ จึงลองศึกษาดูพบว่าสาเหตุที่คณะขึ้นชื่อด้วยว่าวิทยาลัย เป็นเพราะว่าเป็นการบูรณาการนำเอาสายความรู้ต่าง ๆ มาเรียนความหมายคือ นอกจากการเรียนรู้เกี่ยวกับนิเทศศาสตร์แล้ว เราจะยังได้เรียนรู้ทั้งเกี่ยวกับธุรกิจบ้าง การตลาดบ้างเพื่อให้เรามีความสามารถที่หลากหลายจึงเป็นหนึ่งในสาเหตุที่เราเลือกตกลงปลงใจในการเลือกเรียนต่อที่นี่ และส่วนสาขานี้เพราะส่วนตัวเราเป็นคนที่ชอบทางด้านการตัดต่อและอยากจบไปทำงานทางด้านสายนี้การผลิตภาพยนตร์และสัตว์จึงเป็นสาขาที่ตอบโจทย์เรามากที่สุดในตอนนั้น
- รู้ตัวเมื่อไหร่ว่า อยากเรียน คณะ/สาขาวิชานี้
เรารู้ตัวมาตั้งแต่คร่าวๆในตอนมัธยมศึกษาตอนต้น ว่าเราชอบทางด้านการสื่อสารด้านนิเทศศาสตร์ แต่ยังไม่แน่ใจในเรื่องของมหาวิทยาลัยและสาขา แต่พอช่วงมัธยมศึกษาปีที่สี่ ที่ได้ศึกษาเพิ่มเติมมากขึ้น ก็ทำให้เราได้เรียนรู้ว่าคณะและสาขานี้เหมาะกับเราจึงได้ตั้งเป้าหมาย และเก็บผลงานให้ตรงกับสาขานี้มาตั้งแต่ตอนนั้น
- สิ่งที่อยากแนะนำ/เคล็ดลับ ข้อควรรู้ก่อนเลือกเรียน
สิ่งที่ควรรู้ก่อนเลือกเรียนสาขานี้คือสาขาการผลิตภาพยนตร์ และเรียนทุกอย่างที่อยู่หลังกล้องที่รวม ตั้งแต่การถ่ายภาพถ่ายวิดีโอ การจัดไฟ การทำเกี่ยวกับเรื่องเสียงไปจนถึงการตัดต่อ แต่สิ่งที่สาขานี้ไม่ได้ครอบคลุมคือการเขียนบท และการกำกับ เพราะจะเป็นในของอีกเอกหนึ่ง ซึ่งก็เป็นสิ่งหนึ่งที่น้องๆ จะต้องรู้เพื่อใช้ในการเตรียมตัวและใช้ในการตัดสินใจ เพราะก็มีส่วนนึงที่เราเคยลังเลใจระหว่างเอกการผลิตภาพยนตร์ และเอกการแสดงและการกำกับการแสดงภาพยนตร์ ซึ่งต้องชั่งน้ำหนักดูว่าเราสนใจเอกไหนมากกว่า หรือมีวิชาไหนที่เราอยากเรียนมากกว่า กับอีกอย่างหนึ่งเลยสิ่งที่น้องน้องต้องรู้ เมื่อเรียนสาขานี้คือสาขานี้สามารถจบไปทำงานทั้งในด้านเบื้องหลังวงการภาพยนตร์หรือเบื้องหลังวงการสื่อได้ทั้งหมดเลย
- เคล็ดลับการเตรียมตัว การเตรียมสอบ
พี่แม็กซ์ ยื่นเข้ามหาวิทยาลัยในรอบที่ 1 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยถ้านับเวลาในการเตรียมตัวแล้วเก็บผลงานเราใช้เวลาเตรียมตัวตั้งแต่ ม. 4 แต่ถ้านับเวลาในการทำพอร์ตอย่างเดียว เราใช้เวลาทำพอร์ตประมาณ 6 เดือน
เคล็ดลับสำคัญในการเตรียมเข้าคือ การต้องรู้จุดแข็งของตัวเองว่าเราจะใช้อะไรขายในรอบ Portfolio ยกตัวอย่างเช่น เรามีผลงานที่โดดเด่นระดับประเทศ ที่ตรงกับคณะเลยหรือเปล่าหรือเราเป็นคนที่มีสไตล์การทำภาพยนตร์ที่แตกต่าง หรือแม้แต่การที่เราแพ้และไม่เคยชนะก็เคยเป็นจุดเด่นของเราเหมือนกัน
หลายคนอ่านแล้วอาจจะรู้สึกว่ามาใช้เป็นจุดเด่นได้ด้วยหรอ แต่มันเป็นหนึ่งในเป้าหมายที่เราตั้งใจเพราะเราเป็นเด็กคนนึงที่แข่งเกี่ยวกับการทำสื่อหรือภาพยนตร์สั้น ไม่เคยชนะในช่วงมัธยมปลายเลยในตอนแรกเราเกือบจะคัดผลงานเหล่านี้ออกแล้ว แต่สำหรับเราเราคิดว่าสิ่งที่อาจารย์และมหาวิทยาลัยมองหาคงไม่ใช่เพียงแต่เด็กที่ชนะรางวัลระดับประเทศเยอะที่สุดเท่านั้น แต่คงเป็นเด็กที่สามารถแสดงออกถึงตัวตนและความสามารถของตนเองว่าสอดคล้องกับคณะที่อยากเข้าได้มากแค่ไหน
เราจึงตัดสินใจในตอนนั้นในการเลือกขายจุดแข็งในการเอาผลงานในตอน ม. 4 ม. 5 และ ม. 6 ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการส่งภาพยนตร์สั้นในการแข่งเดิมตลอดระยะเวลาสามปี ว่าเราได้พัฒนาในส่วนไหนบ้างโดยเรามีจุดมุ่งหมายว่าเมื่ออาจารย์เห็นหน้านี้แล้วต้องคิดว่าเด็กคนนี้พยายามจังเลย ทำไมเค้าไม่หยุดพยายาม ซึ่งเราก็ถือว่าเป็นจุดเด่นหนึ่งได้ด้วยเช่นกัน โดยถ้าหากใครค้นพบว่าเรามีจุดเด่นในด้านไหนให้ไปให้สุด เพราะ Portfolio จะโดดเด่นได้ไม่ใช่เพียงเพราะผลงาน แต่ต้องประกอบไปด้วยเรื่องที่เราอยากจะเล่าลงไปในผลงานหรือพอร์ตด้วยเช่นกัน
บรรยากาศ ชีวิตในมหาวิทยาลัย
- กิจกรรมที่ได้เจอ
กิจกรรมช่วงปีหนึ่งเยอะมากไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมรับน้องกิจกรรมอัตลักษณ์หรือแม้แต่กิจกรรม COSCI New Gen (กิจกรรมค้นหาทูตประชาสัมพันธ์) พี่บอกเลยว่าสนุกมากๆที่จะทำให้เราได้พบเจอกับเพื่อนอีก 10 เอกที่บอกเลยว่าจะช่วยเราได้มากๆในปีต่อๆมาเพราะพอเรารู้จักกับเพื่อนหลายหลายเอกมากขึ้น การขอเพื่อนมาช่วยงานหรือการที่ได้ร่วมงานกับเพื่อนอื่นๆก็จะทำให้เราได้เจอประสบการณ์ใหม่ใหม่สังคมใหม่ใหม่ ซึ่งแนะนำว่าปีหนึ่งกิจกรรมเยอะมาก ๆ ทั้งในและนอกคณะเพราะมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นมหาวิทยาลัยที่มีกิจกรรมกลางตรงสนามกีฬาแทบอาทิตย์เว้นอาทิตย์เลย เพราะฉะนั้นถ้าเราเป็นคนชอบกิจกรรม บอกเลยว่าถ้าเกิดขยันเดินเราจะไม่มีวันว่างเลย
- สังคมการเรียนเป็นอย่างไร
เป็นสังคมที่หลากหลายมากๆมีแต่คนที่เก่งมากๆคนที่เป็นลูกในวงการบันเทิงหรือคนที่อยู่ในวงการบันเทิงเอง ซึ่งส่วนตัวเรา แอบกดดันในช่วงแรกว่าเราไม่เก่งพอแล้วเค้าจะคุยกับเราไหม แต่สุดท้ายแล้วเข้าใจเป้าหมายของอาจารย์ในการเอาคนหลากหลายมาอยู่ในสังคมเดียวกัน เพราะเมื่อเราได้อยู่ใกล้หรือซึมซับคนเก่งมากๆเราก็ได้ข้อคิดบางอย่างหรือความเก่งบางอย่างของเขาติดตัวมาด้วยเราก็รู้สึกว่าสังคมมันสอนให้เราอยู่กับคนที่หลากหลายได้ หรือเอาง่ายง่ายเลยคืออยู่กับคนได้หลากหลายประเภทมากๆและเป็นสังคมที่สนุกมากๆไม่มีใครหยุดนิ่งเลยว่าง ๆ ก็ชวนกันไปทำหนัง
- ค่าครองชีพ ใช้เงินเท่าไหร่?
ถ้าเป็นค่าที่พักถ้าไม่ได้อยู่ติดมหาวิทยาลัยอาจจะอยู่ที่ประมาณ 10,000 ต้นต้น แต่ถ้าเป็นค่ากินในมหาวิทยาลัยราคาจานละไม่ถึง 100 จะพอไหวอยู่โดยเฉลี่ยแล้วเราใช้ค่าของชีพประมาณเดือนละ 10,000 ต้นๆ (ไม่รวมค่าที่พัก)
- อยากบอกอะไร คนที่สนใจสาขานี้
ใครก็ตามที่สนใจสาขานี้ไม่ว่าจะกำลังลังเลหรือตัดสินใจแล้วก็ ขอให้ลองศึกษาในเรื่องของหลักสูตรและวิชาเรียนดีๆ เพราะในประเทศไทยนิเทศศาสตร์ค่อนข้างมีหลากหลายแขนงและหลากหลายแบบ เพราะฉะนั้นไม่มีที่ไหนที่ดีไปกว่าที่ไหน แต่มันอยู่ที่ว่าที่ไหนเหมาะสมกับเรามากที่สุด
แต่ถ้าใครคิดว่าชอบมหาวิทยาลัยที่ได้เรียน มากกว่านิเทศศาสตร์อย่างเดียวที่ได้เรียนทั้งการตลาดได้เรียนทั้งในเรื่องของธุรกิจไปด้วย สาขาการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัลก็เป็นหนึ่งในตัวเลือก โดยที่ในสาขานี้ก็ยังประกอบทั้งหมด 4 เอกได้แก่ เอกการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล เอกแสดงและการกำกับการแสดงภาพยนตร์ เอกการออกแบบเพื่องานภาพยนตร์ และเอกการจัดการเพื่องานภาพยนตร์ โดยแต่ละเอกก็จะมีรูปแบบและแนวทางการเรียนที่ค่อนข้างแตกต่างกันไป แต่ละสายเพราะจะได้เรียนวิชาเอกตั้งแต่ปีหนึ่งเลย
เพราะฉะนั้นถ้าเกิดเรารู้ตัวว่าเป็นคนชอบทำงานเบื้องหลังเป็นคนชอบตัดต่อถ่ายรูปถ่ายวิดีโอ เอกการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัลก็ยินดีต้อนรับน้อง ๆ ทุกคนที่สนใจและมีความตั้งใจในการศึกษาต่อ และเราก็ขอให้น้องๆ ทุกคนที่ตัดสินใจเลือกอยากจะเข้าศึกษาต่อและกำลังเตรียมตัวอยู่ประสบความสำเร็จในการสอบเข้าคณะและมหาวิทยาลัยแห่งนี้ครับ
Uni Hacks รีวิว เอกการผลิตภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล มศว เตรียมพอร์ตยังไง เรียนยากไหม COSCI SWU
เว็บไซต์ทรูปลูกปัญญาดอทคอมเป็นเพียงผู้ให้บริการพื้นที่เผยแพร่ความรู้เพื่อประโยชน์ของสังคม ข้อความและรูปภาพที่ปรากฏในบทความเป็นการเผยแพร่โดยผู้ใช้งาน หากพบเห็นข้อความและรูปภาพที่ไม่เหมาะสมหรือละเมิดลิขสิทธิ์ กรุณาแจ้งผู้ดูแลระบบเพื่อดำเนินการต่อไป
REPORT
Tags
Posted By
plook explorer
0
Followers
Follow
Report Content
×
เนื้อหา ไม่เหมาะสม
เนื้อหา มีคำไม่สุภาพ
เนื้อหา เข้าข่ายหลอกลวง
เนื้อหา หรือภาพประกอบมีความรุนแรง
เนื้อหา ไม่น่าเชื่อถือ
อื่น ๆ