- สังเกตความรู้สึกทางกาย เช่น ใจเต้น เหงื่อออก ร้อนขึ้น
- สังเกตความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมของตัวเอง
- ถามตัวเองว่ากำลังรู้สึกอย่างไร อะไรเป็นสาเหตุ
- ช่วยให้มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
- ช่วยให้เรียนรู้และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ช่วยให้ตัดสินใจได้อย่างชาญฉลาด
- ช่วยให้มีสุขภาพจิตที่ดี
รู้จักและเข้าใจอารมณ์ของตัวเอง: สังเกตุว่าตัวเองกำลังรู้สึกอย่างไร หายใจเข้าลึกๆ ช้าๆ
คิดก่อนพูดหรือทำ: ใจเย็นๆ คิดถึงผลลัพธ์ที่จะตามมา
หาทางผ่อนคลาย: หายใจลึกๆ ฟังเพลง ออกกำลังกาย ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
พูดคุยกับผู้อื่น: ระบายความรู้สึกกับเพื่อน ครอบครัว หรือผู้ที่ไว้ใจ
ฝึกฝนสติ: ฝึกสมาธิ อยู่กับปัจจุบัน หาทางระบายความรู้สึก เช่น เขียนบันทึก ฟังเพลง
1. อารมณ์ ผิดหวัง
ผิดหวังในความรัก: พูดคุยกับเพื่อนหรือคนในครอบครัว หากิจกรรมทำเพื่อผ่อนคลาย
ผิดหวังในการเรียน: ตั้งเป้าหมายใหม่ หาวิธีเรียนให้มีประสิทธิภาพ
ผิดหวังกับเพื่อน: พูดคุยกับเพื่อน หาวิธีแก้ไขปัญหา
ผิดหวังกับผู้ปกครอง: พูดคุยกับผู้ปกครอง อธิบายความรู้สึก
2. อารมณ์ โกรธ
มีปัญหากับเพื่อน: พูดคุยกับเพื่อน หาวิธีแก้ไขปัญหา
ไม่พอใจคนรอบตัว: หาเวลาอยู่คนเดียว ผ่อนคลายความโกรธ
หงุดหงิด: หาวิธีผ่อนคลาย เช่น ออกกำลังกาย ฟังเพลง
ผู้ปกครองชอบบ่น หรือ พูดอะไรไม่เข้าหู: พยายามควบคุมอารมณ์ พูดคุยกับผู้ปกครองอย่างใจเย็น
3. อารมณ์ อยากรู้ อยากทดลอง
อยากทดลอง สิ่งที่ไม่ดี: คิดถึงผลลัพธ์ที่จะตามมา หาทางเลือกอื่น
อยากรู้ว่ยาเสพติดเป็นอย่างไร: ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับผลร้ายของยาเสพติด หาทางทำกิจกรรมอื่น
4. อารมณ์กลัว
โดนขู่: บอกผู้ใหญ่ที่ไว้ใจ แจ้งตำรวจ
โดน blackmail: บอกผู้ใหญ่ที่ไว้ใจ ปรึกษาหาทางแก้ไข
กลัวเพื่อนไม่รัก: พยายามปรับตัว พูดคุยกับเพื่อน
กลัวแฟนไม่รัก: พูดคุยกับแฟน หาทางแก้ไข
การควบคุมอารมณ์ มีความสำคัญมาก ช่วยให้เรามีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น เรียนรู้และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัดสินใจได้อย่างชาญฉลาด และมีสุขภาพจิตที่ดี การควบคุมอารมณ์ต้องอาศัยการฝึกฝน ไม่มีใครสามารถควบคุมอารมณ์ได้ทุกครั้ง ผิดพลาดบ้างเป็นเรื่องปกติ เรียนรู้จากการผิดพลาด ยอมรับความจริง แก้ไข และให้อภัยตัวเอง