1. อุตสาหกรรม
แบ่งสาขาย่อยออกมา ดังนี้
- สาขาวิชาเครื่องกล ได้แก่ สาขางานยานยนต์, เครื่องกลอุตสาหกรรม, เครื่องกลเรือ, เครื่องกลเกษตร, ตัวถังและสีรถยนต์
- สาขาวิชาเครื่องมือกลและซ่อมบำรุง ได้แก่ สาขางานเครื่องมือกล, ซ่อมบำรุงเครื่องจักรกล, เขียนแบบเครื่องกล, ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเกษตร, แม่พิมพ์พลาสติก, แม่พิมพ์โลหะ
- สาขาวิชาโลหะการ ได้แก่ สาขางานเชื่อมโลหะ, อุตสาหกรรมต่อตัวถังรถโดยสาร
- สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ สาขางานไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิกส์, โทรคมนาคม, เมคคาทรอนิกส์, เทคนิคคอมพิวเตอร์
- สาขาวิชาการก่อสร้าง ได้แก่ สาขางานก่อสร้าง, โยธา, สถาปัตยกรรม, เครื่องเรือนและการตกแต่งภายใน, สำรวจ
- สาขาวิชาการพิมพ์
- สาขาวิชาแว่นตาและเลนส์
- สาขาวิชาการต่อเรือ ได้แก่ สาขางานต่อเรือโลหะ, ต่อเรือไม้, ต่อเรือไฟเบอร์กล๊าส, นาวาสถาปัตย์, ซ่อมบำรุงเรือ
- สาขาวิชาผลิตภัณฑ์ยาง
2. พาณิชยกรรมและบริหารธุรกิจ
แบ่งสาขาย่อยออกมา ดังนี้
- สาขาวิชาพณิชยการ ได้แก่ สาขางานการบัญชี, การขาย, การเลขานุการ, คอมพิวเตอร์ธุรกิจ, ธุรกิจค้าปลีก, ธุรกิจสถานพยาบาล, การประชาสัมพันธ์, ภาษาต่างประเทศ, งานสำนักงานสำหรับผู้พิการทางสายตา
- สาขาวิชาธุรกิจบริการ ได้แก่ สาขางานการจัดการความปลอดภัย, การจัดการความสะอาด
3. ศิลปกรรม
- สาขาวิชาศิลปกรรม ได้แก่ สาขางานวิจิตรศิลป์, การออกแบบ, ศิลปหัตถกรรม, อุตสาหกรรมเครื่องหนัง, เครื่องเคลือบดินเผา, เทคโนโลยีการถ่ายภาพฯ, เครื่องประดับอัญมณี, ช่างทองหลวง, เทคโนโลยีศิลปกรรม, การพิมพ์สกรีน, คอมพิวเตอร์กราฟิก, ศิลปหัตถกรรมโลหะ, รูปพรรณและเครื่องประดับ, ดนตรีสากล, เทคโนโลยีนิเทศศิลป์, ช่างทันตกรรม
4. คหกรรม
แบ่งสาขาย่อยออกมา ดังนี้
- สาขาวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย ได้แก่ สาขางานผลิตและตกแต่งสิ่งทอ, ออกแบบเสื้อผ้า, ตัดเย็บเสื้อผ้า, อุตสาหกรรมเสื้อผ้า, ธุรกิจเสื้อผ้า
- สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ ได้แก่ สาขางานอาหารและโภชนาการ, แปรรูปอาหาร, ธุรกิจอาหาร
- สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ได้แก่ สาขางานคหกรรมการผลิต, คหกรรมการบริการ, ธุรกิจคหกรรม, คหกรรมเพื่อการโรงแรม
- สาขาวิชาเสริมสวย
5. เกษตรกรรมและการประมง
แบ่งสาขาย่อยออกมา ดังนี้
- สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ได้แก่ สาขางานพืชศาสตร์, สัตวศาสตร์, อุตสาหกรรมเกษตร, ช่างเกษตร, เกษตรทั่วไป, การประมง
- สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
- สาขาวิชาแปรรูปสัตว์น้ำ ได้แก่ สาขางานแปรรูปสัตว์น้ำ, การผลิตซูริมิและผลิตภัณฑ์
- สาขาวิชาประมงทะเล
6. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
- สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว ได้แก่ สาขางานการโรงแรม, การท่องเที่ยว
7. อุตสาหกรรมสิ่งทอ
แบ่งสาขาย่อยออกมา ดังนี้
- สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ
- สาขาวิชาเคมีสิ่งทอ
- สาขาวิชาอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป
8. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แบ่งสาขาย่อยออกมา ดังนี้
- สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
- สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบเสียง
9. อุตสาหกรรมบันเทิงและดนตรี
แบ่งสาขาย่อยออกมา ดังนี้
- สาขาวิชาอุตสาหกรรมบันเทิง
- สาขาวิชาการดนตรี
- สาขาวิชาการสร้างเครื่องดนตรีไทย
10. พาณิชย์นาวี
แบ่งสาขาย่อยออกมา ดังนี้
- สาขาเดินเรือ
- สาขาช่างกลเรือ
- สาขาเทคนิคเครื่องกลเรือพาณิชย์
งานสายอาชีพที่ตลาดแรงงานมีความต้องการสูง
1. สายงานด้านวิศวกรรม ได้แก่ วิศวกรสิ่งแวดล้อม, วิศวกรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการข้อมูล, วิศวกรนาโน
2. สายงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ นักพัฒนาซอฟต์แวร์, นักพัฒนาเกมและแอปพลิเคชัน
3. สายงานด้านบัญชีและการเงิน ได้แก่ ผู้ตรวจสอบบัญชี, นักคณิตศาสตร์ประกันภัย, ที่ปรึกษาทางการเงิน
4. สายงานด้านการออกแบบ ได้แก่ สถาปนิก, ครีเอทีฟ, นักออกแบบโลกเสมือนจริง (Augmented Reality)
บางคนอาจยังไม่ทราบว่าเมื่อเราจบ ปวช. ไปแล้ว สามารถเรียนต่ออะไรได้บ้าง โดยปกติแล้วจะมีทางเลือกในการเรียนต่อ 2 ทางเลือกใหญ่ ๆ คือ การเรียนต่อในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือ (ปวส.) ใช้เวลาเรียน 2 ปี โดยหลังจากจบแล้วจะสามารถเรียนต่อปริญญาตรีอีก 2 ปี หรือเรียกว่าการเทียบโอนนั่นเอง ส่วนอีกทางเลือกหนึ่งหลังจากจบปวช.แล้ว คือการเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย (ระดับปริญญาตรี) จะใช้เวลาเรียน 4 – 5 ปี แล้วแต่คณะวิชาที่เลือก
แหล่งข้อมูล
- เรียนต่อสายอาชีพ มีสาขาอะไรบ้าง เลือกอย่างไรให้ตรงใจ
- เลือกเรียนต่อสายอาชีพ งานเยอะ เงินดี เรียนจบไม่มีคำว่าตกงาน
- อาชีวศึกษาคืออะไร?
- จบ ม.3 เรียนต่อสายไหนดี สายไหน...ไปอนาคตของหนู
- หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ | สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
- วิทยาลัยเทคโนโลยีทางทะเลแห่งเอเชีย