Cancel
ติดต่อเรา
login
|
register
Home
Education
Classroom
Knowledge
Blog
TV
ธรรมะ
กิจกรรม
โครงการทรูปลูกปัญญา
ที่มาและประวัติ
Highlights
Freenet
Application
หน้าแรก Plook Dharma
ข่าวธรรมะ
สามเณรปลูกปัญญาธรรม
เสียงธรรม
ค่ายวัยใส
บทความธรรม
บทความธรรม
คลิปธรรม
เสียงธรรม
บทสวดมนต์
วัดและสถานที่ปฏิบัติธรรม
ภาพรวมกิจกรรม
School Tour
Young Producer Award
รู้ทันโลกออนไลน์
หน้าแรก TV
ข่าวและกิจกรรม
รายการออนไลน์
รายการย้อนหลัง
ข่าวการศึกษา
Plook Classroom
Upskill
คลังบทเรียน
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
อาชีวศึกษา
อุดมศึกษา
Plook Tutor
คลังข้อสอบ
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
Smart Exams
Quiz
แนะแนว Plook Guidance
หน้าแรก Plook Explorer
ระบบค้นหาตัวเอง
รู้จักตนเอง
รู้จักอาชีพ
เลือกอาชีพ
เส้นทางสู่อาชีพ
ทำก่อนฝัน
คู่มือแนะแนวสำหรับคุณครู
คู่มือแนะแนวสำหรับผู้ปกครอง
คู่มือแนะแนวสำหรับโรงเรียน
TCAS
Plook TCAS
ข่าวรับตรง
ข่าวค่าย
TCAS Plan
Schooltour
GAT/PAT
9 วิชาสามัญ
O-NET
ครู
หน้าแรก Plook Teacher
การจัดการเรียนรู้
แผนการสอน
ผลงานวิชาการ
โครงการทรูปลูกปัญญา
All menu
home
Education
Classroom
Knowledge
Blog
TV
ธรรมะ
กิจกรรม
Cancel
login
|
register
ที่มาและประวัติ
Highlights
Freenet
Application
หน้าแรก Plook Dharma
ข่าวธรรมะ
สามเณรปลูกปัญญาธรรม
เสียงธรรม
ค่ายวัยใส
บทความธรรม
บทความธรรม
คลิปธรรม
เสียงธรรม
บทสวดมนต์
วัดและสถานที่ปฏิบัติธรรม
ภาพรวมกิจกรรม
School Tour
Young Producer Award
รู้ทันโลกออนไลน์
หน้าแรก TV
ข่าวและกิจกรรม
รายการออนไลน์
รายการย้อนหลัง
ข่าวการศึกษา
Plook Classroom
Upskill
คลังบทเรียน
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
อาชีวศึกษา
อุดมศึกษา
Plook Tutor
คลังข้อสอบ
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
Smart Exams
Quiz
แนะแนว Plook Guidance
หน้าแรก Plook Explorer
ระบบค้นหาตัวเอง
รู้จักตนเอง
รู้จักอาชีพ
เลือกอาชีพ
เส้นทางสู่อาชีพ
ทำก่อนฝัน
คู่มือแนะแนวสำหรับคุณครู
คู่มือแนะแนวสำหรับผู้ปกครอง
คู่มือแนะแนวสำหรับโรงเรียน
TCAS
Plook TCAS
ข่าวรับตรง
ข่าวค่าย
TCAS Plan
Schooltour
GAT/PAT
9 วิชาสามัญ
O-NET
ครู
หน้าแรก Plook Teacher
การจัดการเรียนรู้
แผนการสอน
ผลงานวิชาการ
โครงการทรูปลูกปัญญา
EDUCATION
ข่าวการศึกษา
คลังบทเรียน
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
อาชีวศึกษา
อุดมศึกษา
คลังข้อสอบ
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
Smart Exams
Quiz
แนะแนว Plook Guidance
หน้าแรก Plook Explorer
ระบบค้นหาตัวเอง
รู้จักตนเอง
รู้จักอาชีพ
เลือกอาชีพ
เส้นทางสู่อาชีพ
ทำก่อนฝัน
คู่มือแนะแนวสำหรับคุณครู
คู่มือแนะแนวสำหรับผู้ปกครอง
คู่มือแนะแนวสำหรับโรงเรียน
TCAS
หน้าแรก TCAS
ข่าวรับตรง
ข่าวค่าย
TCAS Plan
Schooltour
GAT/PAT
9 วิชาสามัญ
O-NET
ครู
หน้าแรก Plook Teacher
การจัดการเรียนรู้
แผนการสอน
ผลงานวิชาการ
โครงการทรูปลูกปัญญา
Classroom
หน้าแรก Classroom
TV
หน้าแรก TV
ข่าวและกิจกรรม
รายการออนไลน์
รายการย้อนหลัง
ผังรายการ
KNOWLEDGE
หน้าแรก Plook Knowledge
FRIENDS
หน้าแรก Plook Friends
ธรรมะ
หน้าแรก Plook Dharma
ข่าวธรรมะ
สามเณรปลูกปัญญาธรรม
ปลูกปัญญาธรรม พุทธเรดิโอ
บทความธรรม
คลิปธรรม
เสียงธรรม
บทสวดมนต์
วัดและสถานที่ปฏิบัติธรรม
PLOOK MAGAZINE
หน้าแรก Plook Magazine
อ่านย้อนหลัง
กิจกรรม
ภาพรวมกิจกรรม
School Tour
Young Producer Award
รู้ทันโลกออนไลน์
Blog
หน้าแรก Plook Blog
เขียน Blog
โครงการทรูปลูกปัญญา
ที่มาและประวัติ
Highlights
Freenet
Application
About us
ทรูปลูกปัญญา
ทรูปลูกปัญญา มีเดีย
แจ้งปัญหาการใช้งาน
ติดต่อเรา
Partnership
Login
|
Register
Home
Education
ข่าวการศึกษา
คลังบทเรียน
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
อาชีวศึกษา
อุดมศึกษา
สอนศาสตร์
คลังข้อสอบ
คลังข้อสอบ
ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา
Smart Exams
Quiz
แนะแนว Plook Guidance
หน้าแรก Plook Explorer
ระบบค้นหาตัวเอง
รู้จักตนเอง
รู้จักอาชีพ
เลือกอาชีพ
เส้นทางสู่อาชีพ
ทำก่อนฝัน
คู่มือแนะแนวสำหรับคุณครู
คู่มือแนะแนวสำหรับผู้ปกครอง
คู่มือแนะแนวสำหรับโรงเรียน
Admissions
หน้าแรก TCAS
ข่าวรับตรง
ข่าวค่าย
9 วิชาสามัญ
O-NET
TCAS
หน้าแรก TCAS
ข่าวรับตรง
ข่าวค่าย
Schooltour
GAT/PAT
9 วิชาสามัญ
O-NET
ครู
หน้าแรก Plook Teacher
การจัดการเรียนรู้
แผนการสอน
ผลงานวิชาการ
โครงการทรูปลูกปัญญา
Classroom
Knowledge
Blog
TV
หน้าแรก TV
ข่าวและกิจกรรม
รายการออนไลน์
รายการย้อนหลัง
ผังรายการ
ธรรมะ
หน้าแรก Plook Dharma
ข่าวธรรมะ
สามเณรปลูกปัญญาธรรม
ปลูกปัญญาธรรม พุทธเรดิโอ
ค่ายวัยใส
บทความธรรม
คลิปธรรม
เสียงธรรม
บทสวดมนต์
วัดและสถานที่ปฏิบัติธรรม
กิจกรรม
ภาพรวมกิจกรรม
School Tour
Young Producer Award
รู้ทันโลกออนไลน์
โครงการทรูปลูกปัญญา
ที่มาและประวัติ
Highlights
Freenet
Application
ติดต่อเรา
แจ้งปัญหาการใช้งาน
Home
>
Dhamma
>
บทความ
วิชาเห็นอกเห็นใจคนอื่น บทความเนื่องจากวิกฤตโควิิด - 19 โดยท่าน ว วชิรเมธี
Posted By มหัทธโน | 26 เม.ย. 64
6,205 Views
Favorite
วิทยาศาสตร์ 1
วิทยาศาสตร์ 2
วิทยาศาสตร์ 3
วิทยาศาสตร์ 4
วิทยาศาสตร์ 5
ธรรมะให้แง่คิดดี ๆ สร้างพลังบวก ในขณะที่สังคมไทยต้องการความร่วมมือร่วมใจ สู้ภัยสงครามโควิด-19 ร่วมกัน จากพระเมธีวัชโรดม (ท่าน ว วชิรเมธี) ????
#สืบเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโควิดระลอกที่ ๓ หลายฝ่ายต่างต้องการกำลังใจ พระเมธีวชิโรดม หรือ ท่านว.วชิรเมธี จึงเขียนบทความเพื่อให้กำลังใจ แก่บุคลากรทางการแพทย์ พยาบาล สาธารณสุข และแก่คนไทยทั้งประเทศ ดังต่อไปนี้
....................................................................
วิชา เห็นอกเห็นใจคนอื่น”
โดยพระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี)
.
การเผชิญกับภัยคุกคามอย่างโควิด-19
นับว่า เป็นเรื่องแย่มากพออยู่แล้วสำหรับสังคมไทย
แต่เรายังมีเรื่องแย่มากกว่านั้นซ้ำเติมเข้ามาอีก
นั่นคือ
.
การที่เราเอาแต่ด่าทอ
และด่วนตัดสินกันและกันหนักข้อมากขึ้นทุกวัน
.
เสียงด่าทอนั้น
เกิดขึ้นจากความไม่พอใจรัฐบาลบ้าง
ไม่พอใจตำรวจที่หละหลวมในการรักษากฏหมายบ้าง
ไม่พอใจคนที่ไม่รักษามาตรการทางสาธารณสุขอย่างเข้มข้นบ้าง
ไม่พอใจดาราหรือศิลปินบางคน
ที่ติดเชื้อโควิดแล้วไม่ดูแลตัวเองให้เป็นตัวอย่างแก่คนอื่นบ้าง
ไม่พอใจเหล่าอภิสิทธิ์ชนที่ทำตัวเหนือมนุษย์ทั่วไปจนกลายเป็นที่มาของระลอกที่ ๓ บ้าง
ไม่พอใจวัคซีนที่ไม่แน่ใจว่า ปลอดภัยจริงๆ หรือเปล่าบ้าง
.
และที่แย่ที่สุดก็คือ ไม่พอใจประเทศไทยไปเสียทุกเรื่อง
ที่อะไร ๆ ก็ไม่ได้ดั่งใจไปเสียทั้งหมด
แม้แต่เตียงสนามก็สู้สิงคโปร์ อังกฤษ ออสเตรเลีย อเมริกา ไม่ได้
.
โดยหลงลืมความจริงไปว่า
เราเป็นเพียงประเทศที่กำลังพัฒนา
เมื่อเทียบกับประเทศที่กล่าวมาเหล่านั้น
.
ถ้าเราจะหาเรื่องด่าทอกัน ตัดสินกัน
ต่อให้มีพันปาก ด่ากันพันวัน ก็คงไม่จบไม่สิ้น
.
ในสังคมที่เต็มไปด้วยเสียงด่าทออย่างนี้
ยังจะมีใครกี่คนที่มีความสุขกันล่ะ
ผู้นำรัฐบาล คณะรัฐมนตรี ข้าราชการ
เจ้าหน้าที่ของรัฐ
แพทย์ พยาบาล จิตอาสา สักกี่คนกัน
ที่จะมีกำลังใจปฏิบัติงานด้วยความทุ่มเท เสียสละ
.
ผู้คนทุกวันนี้ทำตัวเหมือนเม่นเข้าไปทุกที
เจอกันทีต้องสลัดขนพิษใส่หน้ากันจนปวดแสบปวดร้อนไปหมด
.
น้อยคนนักที่จะทำตัวเป็นแม่ไก่
ที่เจอกันเมื่อไหร่ก็โอบปีกปกป้องลูกด้วยความรัก
.
วิกฤติโควิดก็หนักหนาแล้ว
แต่วิกฤติความโกรธและเกลียดชังที่เริ่มก่อขึ้นมาในใจคน
.
ซึ่งหากเราไม่ระวังและไม่สำเหนียก
ก็จะเป็นการซ้ำเติมให้สถานการณ์เลวร้ายหนักลงไปอีก
.
ถ้าในสังคมมีแต่ คนก่นด่าความมืด
แต่ไม่มีคนจุดตะเกียงให้แสงสว่างกันเลย
เราจะหาความสุขกันได้จากที่ไหน
เราจะมีกำลังใจไขว่คว้าหาทางออกร่วมกันได้อย่างไร
.
เติมพลังบวกเข้าไปในใจคน
ดีกว่าหยดยาพิษใส่แก้วน้ำให้คนอื่นกันดีไหม ?
.
ผู้เขียน (ท่าน ว วชิรเมธี) เข้าใจดีว่า
ในสังคมไทยที่เต็มไปด้วยผู้คนร้อยพ่อพันแม่
และมีความซับซ้อนเสียยิ่งกว่ากรุงสุโขทัยเมื่อหลายร้อยปีที่แล้ว
มักจะเต็มไปด้วยเสียงตะเบ็งเซ็งแซ่
ของคนที่อยากให้ความต้องการของตนได้รับการตอบสนอง
อย่างทันท่วงที
.
แต่เราก็ต้องไม่ลืมว่า
คนที่ปฏิบัติงานทั้งหลาย
เพื่อให้ความต้องการของเราถูกมองเห็น
และได้รับการตอบสนองนั้น
เขาก็เป็นคนเหมือนกันกับเรานั่นเอง
เขาก็มีครอบครัว มีพ่อมีแม่ มีลูกมีหลาน
เขาก็อยากมีคุณภาพชีวิตเช่นเดียวกันกับเรา
.
และแน่นอน เขาก็อ่อนไหว เสียอกเสียใจเป็นพอๆ กับเราด้วย
.
หากเราไม่เห็นอกเห็นใจกัน
ไม่พยายามเข้าอกเข้าใจกัน
ไม่ส่งเสริมกำลังใจให้แก่กันและกัน
สถานการณ์เลวร้ายทั้งหลายจะดีขึ้นง่ายๆ ได้อย่างไรกัน
.
ด่าทอกันมามากพอแล้ว
เราลองมาส่งพลังบวกให้กันบ้างดีไหม ?
.
วันก่อนผู้เขียนได้อ่านพบบทความธรรมดา ๆ เรื่องหนึ่ง
ที่เขียนโดยใครก็ไม่รู้ที่ส่งต่อ ๆ กันมาทางไลน์
แต่เนื้อหานั้นไม่ธรรมดาเลย
เพราะสารที่บทความนี้ต้องการจะสื่อ
คือสิ่งที่สังคมไทยและสังคมโลก
กำลังขาดแคลนอยู่ในตอนนี้
และเราก็ต้องการมัน
พอ ๆ กับวัคซีนป้องกันโควิดเลยทีเดียว
.
ลองมาอ่านกันดู
.
"แม่ของผมเป็นคนทำอาหารที่บ้านเป็นประจำทุกวัน
คืนหนึ่ง หลังจากที่แม่ทำงานหนักมาตลอดทั้งวัน
แม่กลับบ้านมาด้วยความเหนื่อยล้า
และทำอาหารเย็นให้เราตามปกติ
ที่โต๊ะอาหาร
.
แม่วางจาน ที่มีปลาทูไหม้เกรียมบนโต๊ะต่อหน้าพ่อและทุกๆคน
ผมรอว่า แต่ละคนจะว่าอย่างไร
แต่... พ่อไม่พูดอะไร
และตั้งหน้าตั้งตากินปลาทูไหม้ตัวนั้น
และหันมาถามผมว่า ที่โรงเรียนเป็นอย่างไรบ้าง
.
คืนนั้น หลังอาหารเย็น
ผมจำได้ว่า ได้ยินแม่ขอโทษพ่อ ที่ทอดปลาทูไหม้
.
และผมไม่เคยลืมที่พ่อพูดกับแม่เลย
"โอย... ผมชอบ ปลาทูทอด เกรียมๆ อร่อยมาก นะแม่"
.
คืนต่อมา ผมเก็บคำถามไว้ในใจก่อนนอน
และถามพ่อว่า "พ่อชอบปลาทูทอด เกรียมๆ จริงๆ เหรอ"
.
พ่อลูบหัวผม และตอบว่า
"แม่ของลูก ทำงานหนัก มาทั้งวัน...
ปลาทูไหม้ 1 ตัว ไม่เคยทำร้ายใคร
แต่คำพูด ที่ต่อว่า กันนั้นต่างหาก ที่จะทำร้ายกัน"
.
"ชีวิตคนเรา
เต็มไปด้วย ความไม่สมบูรณ์แบบ
.
และแต่ละคน ก็ ไม่ได้เกิดมา สมบูรณ์แบบ ตัวเราเอง
ก็ไม่ได้มีอะไร ดีกว่าใครๆ"
.
แต่สิ่งที่พ่อเรียนรู้มาในช่วงชีวิต ก็คือ...
.
การเรียนรู้ ที่จะยอมรับ
ความผิดพลาดของคนอื่น และ ของตัวเอง
.
การเลือกที่จะยินดีกับความคิดต่างกันของแต่ละบุคคล
เป็นสิ่งสำคัญในการรักษาชีวิตครอบครัว ที่มีความสุข และยืนยาว
.
“ชีวิตเรานั้น
สั้นเกินกว่าที่จะตื่นขึ้นมาพร้อมกับ
ความเสียใจที่ว่า เราทำผิดกับคนที่เรารักและรักเรา
ให้ดูแล และทะนุถนอม คนที่รักเรา
และพยายามเข้าใจ และให้อภัย จะดีกว่า"
“ถ้าเรารู้ เราจะ ทำไหม”
• เราจะบีบแตร
ใส่คนที่ ยืนยึกยัก ริมถนน ตรงแยกที่ผ่านมาไหม– ถ้าเรารู้ว่า เค้าใส่ขาเทียม
• เราจะเบียดชน คนข้างหน้า ที่เดินช้ามากไหม – ถ้าเรารู้ว่า เค้าเพิ่งตกงาน
• เราจะขำ คนที่ แต่งตัวเชยไหม – ถ้าเรารู้ว่า เค้ามีชุดเก่ง แค่ชุดเดียว
• เราจะรำคาญ สาวโรงงาน ที่มาเดิน พารากอนไหม – ถ้าเรารู้ว่า นั่นคือ การฉลองวันเกิดของเธอ
• เราจะหมั่นไส้ ลุงที่หัวเราะเสียงดังลั่น คนนั้นไหม – ถ้ารู้ว่า แกเป็นมะเร็ง ขั้นสุดท้าย
• เรารู้แจ่มชัดเสมอ…
ว่าชีวิตเรา กำลังเจออะไร
แต่เรา ไม่มีวันรู้ว่า
"คนที่เราเจอ – กำลังเจอ กับอะไร"
.
โลก กว้างกว่าเงาของเรา และโลก ก็ไม่ได้หมุนรอบตัวเรา
.
มองข้าม เรื่องเล็กๆ น้อยๆ ไปบ้าง
ให้โอกาส และให้อภัย มีความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน
จะได้รัก และอยู่ด้วยกัน อย่างยั่งยืนยาวนาน”
.
จากเรื่องราวที่กล่าวมาข้างต้นนั้น
ผู้เขียน (ว วชิรเมธ๊) สรุปออกมาเป็น “กฎทองของชีวิต”
ซึ่งเมื่อใครนำไปปฏิบัติแล้ว
จะทำให้เป็นคนที่กลายเป็น “แหล่งพลังงงานทางบวก”
สำหรับคนที่อยู่ข้างหน้าเสมอ
นั่นก็คือ
.
๑.หัดมองข้ามเรื่องเล็กๆ น้อยๆ เสียบ้าง
อย่าจริงจังกับทุกเรื่อง จนความสัมพันธ์กับคนรอบข้างตึงเครียดไปหมด
๒.ไม่มีใครที่ทำอะไรได้สมบูรณ์แบบไปเสียทั้งหมด
จงให้อภัยในความผิดพลาดของคนอื่น เหมือนกับที่เราชอบให้อภัยแก่ตัวเอง
.
๓.สิ่งใดที่เราไม่ชอบ ก็จงอย่ามอบสิ่งนั้นแก่คนอื่น
สิ่งใดที่เราชอบ ก็จงมอบสิ่งนั้นแก่คนอื่น
.
๔.อย่ารำคาญความปรารถนาดีเล็กๆ น้อยๆ ของคนอื่น
ที่พยายามแสดงออกต่อเราด้วยความจริงใจ
.
๕.เรารักสุขเกลียดทุกข์และกลัวความตาย ฉันใด
คนอื่น ก็รักสุข เกลียดทุกข์ และกลัวความตาย ฉันนั้น
เอาใจเขามาใส่ใจเรา (อตฺตานํ อุปมํ กเร)
อย่างนี้แล้ว
จึงไม่ควรฆ่าใคร ไม่ควรสั่งใครให้ไปฆ่า
.
(ว.วชิรเมธี)
๒๖ เมษายน ๒๕๖๔
แหล่งข้อมูล
-- เพจพระเมธีวชิโรดม (ว วชิรเมธี) สืบค้นจาก https://www.facebook.com/v.vajiramedhi/photos/a.10152716740405877/10157789641450877/
-- ภาพ จาก โครงการสามเณรปลูกปัญญาธรรม
เว็บไซต์ทรูปลูกปัญญาดอทคอมเป็นเพียงผู้ให้บริการพื้นที่เผยแพร่ความรู้เพื่อประโยชน์ของสังคม ข้อความและรูปภาพที่ปรากฏในบทความเป็นการเผยแพร่โดยผู้ใช้งาน หากพบเห็นข้อความและรูปภาพที่ไม่เหมาะสมหรือละเมิดลิขสิทธิ์ กรุณาแจ้งผู้ดูแลระบบเพื่อดำเนินการต่อไป
REPORT
Tags
Posted By
มหัทธโน
4
Followers
Follow
Report Content
×
เนื้อหา ไม่เหมาะสม
เนื้อหา มีคำไม่สุภาพ
เนื้อหา เข้าข่ายหลอกลวง
เนื้อหา หรือภาพประกอบมีความรุนแรง
เนื้อหา ไม่น่าเชื่อถือ
อื่น ๆ