พันธุ์ไม้ป่าของไทยที่มีลักษณะสวยงาม
พันธุ์ไม้ป่าที่มีลักษณะสวยงามนั้นมีมากมายหลายชนิด ส่วนมากไม่ค่อยมีใครเอาใจใส่สนใจนำมาปลูก เพราะส่วนมากขึ้นอยู่ในท้องถิ่นทุรกันดาร ซึ่งน้อยคนที่จะมีโอกาสเข้าไปถึง ส่วนที่นำมาปลูก จนเป็นที่รู้จักกันทั่วไปนั้น เป็นต้นว่า เข็ม ประดู่ หูกวาง สารภี บุนนาค และอินทนิลเป็นชนิดทีเกิด ขึ้นในป่าที่อยู่ใกล้ๆ ชุมชน
ประเภท |
ชื่อ และ สกุล |
ลักษณะต้น |
สีของดอก |
ที่ชอบขึ้น |
ไม้ล้มลุก | ดอกหรีดในสกุลเยนเชียนา (Gentiana) เทียนป่าในสกุลอิมพาเชียนส์ (Impatiens) ดาดตะกั่วในสกุลบีโกเนีย (Begonia) กระเจียวในสกุลเคอร์คิวมา (Curcuma) พอลีโกนัม แอฟฟินี (Polygonum affine) ไอรีส (Iris collettii) ดอกขอในสกุลคอโลเคมฟีเรีย (Caulokaempferia) ดาวเรืองป่า (Anisopappus chinensis) ต่างไก่ป่า (Inula purpurascens) |
ต้นขนาดเล็ก ขึ้นเป็นกรุจุก แต่บางชนิด ลำต้นทอดเลื้อยไป ตามพื้นดิน ต้นและใบอวบน้ำ ขึ้นเป็นหมู่ดูงาม สะดุดตา ต้นและใบอวบน้ำ ใบมักมีลวดลาย และขนนุ่ม ขึ้น เป็นหมู่หรือกระจัด กระจาย มีเหง้าใต้ดิน เวลาออกดอก มักไม่มีใบ ชอบขึ้นเป็นหมู่ มีเหง้าอยู่ใต้ดิน ขึ้นเป็นหมู่กระจัด กระจาย มีหัวอยู่ใต้ดิน สูงประมาณ ๕๐ ซม. สูงประมาณ ๕๐ ซม. |
สีม่วงน้ำเงิน ดอกมีสีต่าง ๆ สีขาวหรือชมพู สีเหลืองหรือสีม่วง มีกาบรองดอกสีขาว สีแดงหรือสีชมพู สีขาวหรือชมพู สีน้ำเงินมีแถบ เหลือง สีขาว ชมพู หรือเหลือง สีเหลืองสด สีขาวตรงกลาง เหลือง |
ที่ดินปนทราย ที่ดินปนทราย ตามแอ่งหินปูน และที่ลุ่มน้ำขัง ที่ดินปนทราย |
ไม้พุ่มดอก สวยงาม |
ใบหูเสือ ในสกุลไดดีมอคาร์ปัส (Didymocarpus) หญ้าข้าวก่ำ (Burmannia disticha) เข็ม สกุล อิกซอรา (Ixora) พุดดง หรือข่อยด่าน (Gardenia collinsae) เขี้ยวกระแต (Paracoffea merguensis) ช้องแมว (Gmelina philippensis) ผกากรองป่า (Lantana indica) ชงโค (Bauhinia variegata) กาหลง (Bauhinia acuminata) ครามป่า (Indigofera sutepensis) กำยานเตี้ย (Styrax rugosus) แก้ว (Murraya paniculata) ลูคิวเลีย (Luculia gratissima) ไมหรือดอกสามสี (Rhododendon) พวงไข่มุก (Lyonia foliosa) |
ต้นและใบอุ้มน้ำ มีขนนุ่ม ลำต้นสั้นชิดดิน ส่งช่อดอกขึ้นมา สูงพ้นใบ สูง ๓-๖ เมตร สูง ๑-๑.๕๐ เมตร สูง ๓-๖ เมตร สูง ๑ เมตร สูง ๕–๑๐ เมตร สูง ๑-๒ เมตร สูง ๑-๑.๕๐ เมตร สูง ๑-๒ เมตร สูง ๒-๓ เมตร สูง ๑-๒ เมตร สูง ๓-๖ เมตร สูง ๑-๒ เมตร |
สีม่วงเข้มหรือ ชมพู สีม่วงเข้ม สีขาว เหลือง แสด ดอกเป็นช่อแน่น บางชนิดมีกลิ่นหอม สีขาว มีกลิ่นหอม สีขาว มีกลิ่นหอม สีเหลือง มีกาบรอง ดอกสีขาว สีม่วง สีขาวหรือชมพู สีขาว สีชมพู ออกดอก ตอนผลัดใบ สีขาว สีขาว กลิ่นหอม สีชมพู สีขาว ชมพู ู หรือแดง สีขาว |
ตามก้อนหิน ตามที่ลุ่มน้ำขัง ป่าดิบทั่ว ๆ ไป ป่าดิบในระดับ ต่ำ ป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณ ป่าเบญจพรรณ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา ป่าดิบบริเวณ มีหินปูน เขาหินปูน ในภาคเหนือ ป่าดิบเขา หรือเขาหินปูน ป่าเขาในระดับ สูง |
ไม้เถา ดอกสวย งาม บาง ชนิดดอก หอม ไม้ยืนต้น ดอกสวย งาม |
อรพิม หรือคิ้วนาง (Bauhinia winitii) ชิงโค (Bauhinia iintegrifolia) เครือขยัน (Bauhinia strychnifolia) พุทธชาด (Jasminum auriculatum) ปันหยี (Jasminum rex) อรคนธ์หรือรสสุคนธ์ (Tetracera loureirii) สายหยุด (Desmos chinensis) เถาวัลย์เปรียง (Derris scandens) กวาวเครือ (Buteasuperba) การเวก (Artabotrys siamensis) กุหลาบป่าหรือแมะจี (Rosa gigantea) อินทนิล อินทชิต ตะแบก และ เสลา อยู่ในสกุล เลเยอร์สตรีเมีย (Lagerstroemia) นนทรี (Peltophorum pterocarpum) แซะ (Milletia atropurpurea) |
ไม้เถาขนาดใหญ่ ไม้เถาขนาดใหญ่ ไม้เถาขนาดใหญ่ ไม้เถาขนาดกลาง ไม้เถาขนาดกลาง ไม้เถาขนาดกลาง ไม้เถาขนาดใหญ่ ไม้เถาขนาดใหญ่ ไม้เถาขนาดใหญ่ ไม้เถาขนาดใหญ่ ไม้เถาขนาดกลาง ต้นมีหนามโค้ง ผลัดใบ ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร เรือนยอดทึบ |
สีขาว ดอกใหญ่ สีแสด สีแดงสด ออกเป็น ช่อตรงยาวคล้าย ดอกประทัด สีขาว กลิ่นหอม สีขาว ดอกใหญ่ สีขาว ดอกเล็กหอม ออกเป็นช่อ สีเหลือง หอม ก้านดอกยาวห้อยลง สีขาวอมม่วง หอม สีแดง สีเขียว ๆ เหลือง กลีบแข็ง หอม สีขาว หอมอ่อน สีม่วงอ่อน และสีม่วงชมพู สีเหลือง สีม่วงดำ |
ป่าผลัดใบ ป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบและที่ ลุ่มมีน้ำขัง ป่าดิบและ ป่าทุ่ง ป่าดิบ ป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบ ป่าดิบเขาใน ระดับสูง ในที่ร่วนระบาย น้ำดี ในป่า เบญจพรรณ แต่ อินทนิลชอบ ขึ้นตามริมน้ำ ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบทาง ภาคใต้ ป่าดิบทางภาค ใต้ |
ตุ้มกว้าว (Mitragyna brunonis) มะกล่ำต้น (Adenanthera pavonina) หยี หรือเขล็ง (Dialium cochinchinense) ทองกวาว (Butea monosperma) สาธร (Millettia kangensis) กระพี้จั่น (Millettia brandisiana) แสมสาร (Cassia gerrettiana) ขี้เหล็ก (Cassia simea) กัลปพฤกษ์ (Cassia bakeriana) คูณ หรือ ราชพฤกษ์ (Cassia Javanica) ชัยพฤกษ์ (Cassia fistula) ชมพูพิงค์ (Prunus cerasoides) ตานเหลือง (Ocha integerrima) ส้านช้าง (Dillenia pentagyna) |
ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๐–๒๐ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๐–๑๕ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๐–๑๕ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๐–๑๕ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๐–๑๕ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๐–๑๕ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๐–๑๕ เมตร ผลัดใบ สูง ๕–๑๐ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ |
สีขาว เหลือง หอมอ่อน สีขาว สีขาว สีแดงสด สีชมพู สีม่วงเข้ม สีเหลือง สีเหลือง สีชมพู สีเหลือง ช่อห้อยยาว สีชมพู สีชมพู สีเหลือง สีเหลือง |
ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ทั่วไป ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ทางภาคเหนือ และอีสาน ป่าดิบแล้งและ ตามที่ราบลุ่ม ป่าเบญจพรรณ ริมลำน้ำในภาค เหนือ ป่าไม้เบญจ- พรรณ ป่าเบญจพรรณ แล้ง ป่าเบญจพรรณ ชื้น ป่าเบญจพรรณ แล้ง ป่าเบญจพรรณ แล้ง ป่าดิบแล้ง ป่าดิบแล้งใน ภาคเหนือและ ป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณ แล้ง ป่าดิบ ริมน้ำ ลำธาร |
|
ไม้ยืนต้น ดอกหอม |
หิรัญญิการ์ (Beaumontia brevituba) โมกเถา (Rhynchodia verrucosa) เมี่ยงหลวง (Gordonia axillaris) มังตาน หรือ ทะโล้ (Schina wallichii) สารภีดอย (Anneslea fragrans) ห้อยจั่น (Engelhardia spicata) หมักหม้อ (Randia wittii) อโศกเขา (Saraca declinata) แดงแสม (Schoetenia ovata) ทองหลางป่า (Erythrina subumbraus) ทองหลางน้ำ (Erythrina subumbraus) มณฑาดอย (Manglietia garrettii) กระดังงา (Cananga odorata) กระดังงาสงขลา (Cananga suffruticosa) นมแมว (Rauwenhofa siamensis) |
ไม้เถาขนาดใหญ่ ไม้เถาขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง ๑๐–๑๕ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๒๐–๒๕ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๐–๑๕ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๕–๑๐ เมตร ผลัดใบ สูง ๒๐–๒๕ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๕ เมตร ผลัดใบ ต้นมีหนาม ไม่ผลัดใบ สูง ๒๐–๒๕ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ไม้ต้นกึ่งไม้พุ่ม มักปลูกเป็นไม้ ประดับ ไม่ผลัดใบ สูง ๘–๑๒ เมตร |
สีขาว ดอกใหญ่ สีขาว หอม ออกเป็นช่อ สีขาว ดอกใหญ่ หอมอ่อน สีขาว สีขาวหรือชมพู สีเขียว ๆ ขาว ๆ ช่อห้อยลง สีขาวภายนอก ม่วงเข้มภายใน สีแดงแกมเหลือง เป็นช่อใหญ่ หอมอ่อน สีนวล หอมอ่อน สีแดงสด สีแดงคล้ำ สีม่วงแดง ดอกใหญ่ หอมอ่อน สีเขียว ๆ เหลือง ๆ หอม สีเขียว ๆ เหลือง ๆ หอม สีเหลืองอ่อน หอมเย็น |
ป่าดิบ ป่าดิบ ป่าดิบเขา ริมลำธาร ป่าดิบทั่ว ๆไป ป่าดิบเขาใน ระดับสูง ป่าดิบเขาใน ระดับสูง ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ริมลำธาร ริมน้ำทั่ว ๆ ไป ป่าดิบเขา ป่าดิบทาง ภาคใต้ ป่าดิบแล้ง |
ลำดวน หรือหอมนวล (Melodorum fruticosum) สารภี (Mammea siamensis) พะยอม (Shorea roxburghii) จันทน์กะพ้อ (Vatica diospyroides) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) บุนนาค (Mesua ferrea) จำปีป่า(Paramichelia baillonii) ยี่หุบป่า (Talauma betongensis) จำปาป่า (Michelia champaca) แก้วมหาวัน หรือจำปีดอย (Michelia floribunda) มณฑาป่า (Magnolia henryi) กระถินพิมาน (Acacia siamensis) กระเบาใหญ่ (Hydnocarpus anthelminticus) ปีบ (Millingtonia hortensis) |
ไม่ผลัดใบ สูง ๘–๑๒ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ผลัดใบ สูง ๒๐–๒๕ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๐–๑๕ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๒๐–๒๕ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ผลัดใบ สูง ๒๐–๒๕ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๕–๑๐ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๒๐–๒๕ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๒๕–๓๐ เมตร ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร กิ่งก้านมีหนาม ไม่ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร ไม่ผลัดใบ สูง ๑๕–๒๐ เมตร |
สีนวล หอมเย็น สีขาว ออกตามกิ่ง หรือลำต้นตอนบน หอม สีขาวนวล หอม สีนวล หอมฉุน สีขาวนวล หอม สีขาว บางทีสีชมพู หอม สีขาว หอม สีขาว หอมอ่อน สีเหลือง หอม สีขาว หอม สีนวล หอม สีขาว หอมอ่อน สีขาว ดอกเพศผู้ หอม สีขาว หอม |
ป่าดิบแล้ง ป่าดิบแล้ง ป่าดิบ และป่า เบญจพรรณ ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ริมลำธาร และ ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และ ป่าดิบชื้น ป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น ป่าดิบทั่ว ๆ ไป ป่าดิบเขา ป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ริมลำธาร ป่าเบญจพรรณ |