คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
หารากที่...........
ตัวอย่างเช่น
รากที่สองของ 5 คือ |
|
และ |
- |
รากที่สองของ 16 คือ |
|
และ |
- |
รากที่สองของ 1.21 คือ |
|
และ |
- |
รากที่สองของ 2 คือ |
|
และ |
- |
ข้อสังเกตเกี่ยวกับรากที่สองของจำนวนจริงบวก
1. รากที่สองของจำนวนจริงบวก จะเป็น จำนวนตรรกยะ หรือ จำนวนอตรรกยะ อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
2. เมื่อทราบว่ารากที่สองของจำนวนจริงบวกใด ๆ เป็นจำนวนตรรกยะเราไม่นิยมเขียนรากที่สองของจำนวนนั้น
ในรูปที่ใช้เครื่องหมาย เช่น จะเขียน 4 แทน
สมบัติของรากที่สองของจำนวนจริง
1. ถ้า a เป็นจำนวนจริงใด ๆ จะได้ |
|
การหารากที่สอง ในหัวข้อที่แล้วได้ให้วิธีหารากที่สองมาแล้ว และในหัวข้อนี้จะเพิ่มเติมบางส่วน การหารากที่สองมีวิธีหาดังนี้ 1. การหารากที่สองโดยการแยกตัวประกอบ
ซึ่งได้หาแล้วในตอนที่ 1 เรื่องที่ 4 2. การหารากที่สองโดยวิธีเฉลี่ย
วิธีนี้เหมาะสำหรับผู้มีความเข้าใจ แต่ไม่นิยมให้นักศึกษาไปศึกษาจากตำราอื่น ๆ 3. การหารากที่สองโดยวิธีตั้งหาร
วิธีนี้ขอให้นักศึกษาศึกษาตัวอย่างต่อไปนี้ เพราะวิธีหารากที่สองโดยวิธีตั้งหารนี้ เราสามารถหาได้ทุกจำนวน
ตัวอย่างที่ 1 จงหารากที่สองของ 1156
วิธีทำ ขั้นที่ 1 แบ่งตัวเลขออกเป็นชุด ๆ ชุดละ 2 ตัว นับจากขวามาซ้าย จะได้ 11 กับ 56
ขั้นที่ 2 หารตัวเลขชุดแรกก่อน คือ 11 โดยหาว่ามีเลขจำนวนใดเหมือนกันคูณกันแล้วได้ผลคูณใกล้เคียงกับ 11 มากที่สุด ในที่นี้คือ 3 x 3 ได้เท่ากับ 9 สา 3 ที่ผลลัพธ์และหน้าเครื่องหมาย นำผลคูณที่ได้คือ 9 นำไปลบออกจาก 11 เหลือเศษ คือ 2 ดึงตัวเลขชุดต่อไปลงมาคือ 56 ตัวเลขชุดใหม่ตอนนี้จะกลายเป็น
ขั้นที่ 3 นำ 2 คูณผลลัพธ์ตัวแรกคือ 3 ได้ 6 นำ 6 ที่ได้มาวางไว้หน้า
ขั้นที่ 4 เนื่องจากเลขชุดสุดท้าย คือ
งท้ายด้วยเลข 6 ให้หาว่ามีเลขจำนวนใดบ้างที่เหมือนกันและคูณ กันแล้วลงท้ายด้วยเลข 6 คำตอบมีสองตัวคือ 4 และ 6 แต่ 6 จะใช้ไม่ได้ คำตอบจึงเป็น 4 นำ 4 ที่ได้ไปวางที่
ผลลัพธ์ด้านบนติดกับเลข 3 ที่เป็นคำตอบแรก จึงกลายเป็น 34 และนำ 4 ไปวางไว้หลัง 6 ในขั้นที่ 3 จึงกลายเป็น 64 จากนั้นให้นำ 4 ที่เป็นผลลัพธ์ตัวล่าสุดไปคูณกับ 64 (64 x 4 = 256) ได้ผลลัพธ์คือ 256 นำไปลบกับ 256 ได้เศษเป็น 0
รากที่สองที่เป็นบวกของ 1156 คือ 34
ตัวอย่างที่ 2 จงหารากที่สองของจำนวนต่อไปนี้ โดยวิธีตั้งหาร (หากไม่เข้าใจให้ครูประจำกลุ่ม อธิบายให้ฟัง)
1. 784 วิธีทำ 2) 7921 วิธีทำ
ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่า x จากสมการที่กำหนดให้ต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 4 จงใช้สมบัติของรากที่สอง จงทำให้เป็นผลสำเร็จ
ตัวอย่างที่ 5 จงทำให้เป็นผลสำเร็จ
การทำส่วนไม่ให้ติดราก มีหลักการดังนี้
1. ถ้าส่วนมีรากเดียว ให้เอารากนั้นคูณทั้งเศษและส่วน เช่น 2 . ถ้าส่วนอยู่ในรูปของผลบวกหรือผลต่างของรากให้เอาคอมจุเกตของส่วนคูณทั้งเศษและส่วน
หมายเหตุ ผลคูณของส่วนใช้สูตร |
|
การหารากที่สองโดยวิธีแยกตัวประกอบ
ตัวอย่างที่ 1 จงหารากที่สองของ 81
วิธีทำ 81 = 9 x9
81 = 3 x 3 x 3 x 3
81 =
81 =
ดังนั้น รากที่สองของ 81 คือ และ -
หรือ รากที่สองของ 81 คือ 9 และ - 9
ตัวอย่างที่ 2 จงหารากที่สองของ 576
วิธีทำ 576 = 2 x 288
576 = 2 x 2 x 144
576 = 2 x 2 x 12 x 12
576 = 2 x 2 x 2 x 2 x 3 x 2 x 2 x 3
576 =
576 =
ดังนั้น รากที่สองของ 576 คือ และ -
หรือ รากที่สองของ 576 คือ 24 และ - 24
ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ
วิธีทำ 1,296 = 6 x 216
1,296 = 6 x 6 x 36
1,296 = 6 x 6 x 6 x 6
1,296 =
1,296 =
ดังนั้น คือ 36
รากที่สอง
รากที่สองของจำนวนใดๆคือจำนวนที่ยกกำลังสองแล้วได้จำนวนนั้นเช่น 3 คูณ 3 เท่ากับเก้าดังนั้นคือรากที่สองของ9คือ3และ(-3)(-3)เท่ากับเก้าดังนั้นรากที่สองของ9คือ3และ-3 บทนิยาม ให้ aเป็นจำนวนจริง โดยที่ aมากกว่าหรือเท่ากับ0รากที่สองของaคือจำนวนจริงที่ยกกำลังสองแล้วได้a
พาย หรือ ไพ (pi: π) เป็นค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ ที่เกิดจากความยาวเส้นรอบวงหารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม ค่า π มักใช้ในคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์ และวิศวกรรม π เป็นอักษรกรีกที่ตรงกับตัว "p" ในอักษรละติน มีชื่อว่า "pi" (อ่านว่า พาย ในภาษาอังกฤษ แต่อ่านว่า พี ในภาษากรีก) บางครั้งเรียกว่า ค่าคงตัวของอาร์คิมิดีส หรือจำนวนของลูดอฟ
ในเรขาคณิตแบบยุคลิด π มีนิยามว่าเป็นอัตราส่วนของเส้นรอบวงหารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม หรือเป็นอัตราส่วนของพื้นที่วงกลม หารด้วย รัศมียกกำลังกำลังสอง ในคณิตศาสตร์ชั้นสูงจะนิยาม π โดยใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เช่น π คือจำนวนบวก x ที่น้อยสุดที่ทำให้ sin(x) = 0
การเกิดค่าพาย
ค่า π โดยประมาณ 50 ตำแหน่งคือ
3.14159 26535 89793 23846 26433 83279 50288 41971 69399 37510
แม้ว่าค่านี้มีความละเอียดพอที่จะใช้ในงานวิศวกรรมหรือวิทยาศาสตร์แล้ว ปัจจุบันมีการคำนวณค่า π ได้หลายตำแหน่ง ซึ่งหาได้ทั่วไปจากอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลโดยทั่วไปสามารถคำนวณค่า π ได้พันล้านหลัก ขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์คำนวณค่า π ได้เกินล้านล้านหลัก และไม่พบว่ามีรูปแบบที่ซ้ำกันของค่า π ปรากฏอยู่
เนื้อหา [ซ่อน] |