จังหวัด บึงกาฬ
จังหวัดที่ 77ของประเทศไทย
จังหวัดบึงกาฬ เป็นจังหวัดที่มีการร้องขอให้จั
ดตั้ง
ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2537 ตามข้อเสนอของนายสุเมธ พรมพันห่าว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเสรีธรรม จังหวัดหนองคาย โดยแยกพื้นที่อำเภอบึงกาฬ
อำเภอปากคาด อำเภอโซ่พิสัยอำเภอพรเจริญ
อำเภอเซกา อำเภอบึงโขงหลง อำเภอศรีวิไล และอำเภอบุ่งคล้าออกจากจังหวัดหนองคาย
จากการสำรวจความเห็นของประชาชน จำนวน 366,903 คนปรากฏว่าประชาชนเห็น
ด้วยกั
บการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ ร้อยละ 98.83 หากมีการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ จะมีประชากรประมาณ 399,233 คน ประกอบด้วย 8 อำเภอส่วนจังหวัดหนองคาย จะประกอบด้วย 9 อำเภอ ประชากร 506,343 คน
สภาพทั่วไป
บึงกาฬเป็นอำเภอที่มีสถาน
ที่ท่องเที่
ยวหลายแห่ง มีน้ำตก มีภูเขาเป็นอำเภอที่มีเขตพื้นที่ติดต่
อกับแม่น้ำโขง
และแขวงบริคำไชยสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว
ผลการพิจารณา
เมื่อปี พ.ศ. 2537 กระทรวงมหาดไทยได้แจ้งผลการพิจารณาว่ายังไม่มี
แผนที่จะยกฐานะ
อำเภอบึงกาฬขึ้
นเป็นจังหวัดเพราะการจัดตั้งจัง
หวัดใหม่เป็
นการเพิ่มภาระด้านงบประมาณอีกทั้งยังเป็นการเพิ่มกำลั
งคนภาครัฐซึ่งขัดมติคณะ
รัฐมนตรี
ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 กระทรวงมหาดไทยได้นำเรื่องการจัด
ตั้งจังหวัดบึ
งกาฬ เข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอเป็นร่างพระราชบัญญัติ
จัดตั้งจังหวัดบึง
กาฬ พ.ศ. ...
ต่อมาในวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีก็มีมติ
ให้ทำการจั
ดตั้งจังหวัดบึงกาฬขึ้นซึ่งมี
ผลนับตั้งแต่นี้เป็นต้นไปจึงนับได้ว่าขณะนี้จังหวัดบึ
งกาฬได้แยกตัวออกจาก
จังหวั
ดหนองคายเป็นจังหวัดที่ 77 ในราชอาณาจักรไทย
อำเภอเมืองบึงกาฬอำเภอเมืองบึงกาฬ
เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดบึงกาฬมีสถานที่ท่องเที่ยว
หลายแห่ง มีน้ำตก มีภูเขาเป็นอำเภอที่มีเขต
พื้นที่ติดกั
บแม่น้ำโขงและอีกฝั่งตรงข้าม
แม่น้
ำโขงจะเป็นประเทศเพื่อนบ้าน (ลาว)มีการคมนาคมสะดวก
ประวัติ
เดิมอำเภอบึงกาฬมีชื่อเดิมว่าไชยบุรีซึ่งขึ้นกับจังหวั
ดนครพนม จนกระทั่งปี พ.ศ.
2460 ได้ถูกโอนย้ายให้ขึ้น
ต่อจังหวั
ดหนองคาย และถูกเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น บึงกาฬ ในปี พ.ศ. 2482
ต่อมา ในปี พ.ศ. 2537 ได้มีการร้องขอให้จัดตั้งเป็นจั
งหวัดบึงกาฬ
ตามข้อเสนอของนายสุเมธ พรมพันห่าวสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎร พรรคเสรีธรรม จังหวัดหนองคาย โดยแยกพื้นที่อำเภอบึงกาฬอำเภอปากคาด อำเภอโซ่พิสัย อำเภอพรเจริญ อำเภอเซกา
อำเภอบึงโขงหลง อำเภอศรีวิไลและอำเภอบุ่งคล้า
ออกจากจังหวัดหนองคาย แต่กระทรวงมหาดไทยยังไม่มีแผนที่จะยก
ฐานะอำเภอบึ
งกาฬขึ้นเป็นจังหวัดเพราะการจัดตั้งจัง
หวัดใหม่เป็
นการเพิ่มภาระด้านงบประมาณอีกทั้งยังเป็นการเพิ่มกำลั
งคนภาครัฐซึ่งขัดมติคณะ
รัฐมนตรี
จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2553 ในการประชุมสภาผู้แทน
ราษฎร นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ ส.ส.ส่วนพรรคกิจสังคมได้ตั้ง
กระทู้
ถามสดต่อนายกรัฐมนตรี เรื่องการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬและทางกระทรวงมหาดไทยเห็นด้วย
กำลังอยู่ในกระบวนการนำเข้
าเสนอต่อที่ประชุม ครม.เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ก่อนส่งเรื่องเข้ามาสู่สภาผู้
แทนราษฎรเพื่อเสนอเป็นกฎหมายพ.ร.บ.จัดตั
้งจังหวัดบึงกาฬ
ต่อไป
ต่อมาในวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีก็มีมติให้ทำการจั
ดตั้งจังหวัดบึงกาฬ
ขึ้นซึ่งมี
ผลนับตั้งแต่นี้เป็นต้นไป
จึงทำให้อำเภอบึงกาฬได้รับการยกฐานะเป็น
อำเภอเมื
องบึงกาฬ