เรียนภาษาจีนไม่ใช่เรื่องยุ่งยาก!!! ตอนที่ 12 : บทพิเศษ : เส้นขีดของภาษาจีน
สมาชิกเลขที่45049 | 20 พ.ค. 55
5.3K views

                 笔画

                                           เส้นขีดของอักษรจีน 

笔bǐ画huà

เส้น ขีด

名míng     称chēng

ชื่อ

 

例lì  字zì

ตัวอย่างอักษร

 

 

笔bǐ画huà

เส้น ขีด

名míng     称chēng

ชื่อ

 

例lì  字zì

ตัวอย่างอักษร

点diǎn

广

横héng    钩gōu

横héng

横héng折zhé 钩gōu

竖shù

 

横héng折zhé 弯wān钩gōu

丿

撇piě

 

横héng撇piě 弯wān钩gōu

 

捺nà

横héng折zhé 折zhé折zhé钩gōu

 

提tí

 

竖shù折zhé 折zhé钩gōu

撇piě  点diǎn

 

竖shù    弯wān

竖shù  提tí

 

横héng折zhé 弯wān

沿

 

横héng折zhé 提tí

横héng    折zhé

弯wān  钩gōu

竖shù    折zhé

竖shù  钩gōu

撇piě    折zhé

竖shù弯wān 钩gōu

 

横héng    撇piě

 

斜xié  钩gōu

 

横héng折zhé 折zhé撇piě

 

卧wò  钩gōu

 

竖shù折zhé 撇piě

 

 笔 顺  การลำดับขีดการเขียนตัวอักษรจีน

    ณ ที่นี้จะข้อกล่าวถึงลำดับขีดพื้นฐานโดยทั่วไปมี 7 แบบ 
(ซึ่งในความเป็นจริงมีมากกว่า 7 แบบ บางตำรากล่าวถึง 13 แบบ )

1. บนลงล่าง

 

 

2. ขีดขวางแล้วค่อยขีดตั้ง

 

3. ตรงกลางก่อนแล้วซ้ายขวา

 

4.ตี กรอบนอก เขียนข้างในแล้วค่อยปิด

 

5. ป้ายซ้ายก่อนแล้วค่อยป้ายขวา

     

6.、ซ้ายก่อนแล้วค่อยขวา 


7、 ด้านนอกก่อนค่อยด้านใน

汉 字结构  โครงสร้างอักษรจีน

         โครงสร้างของตัวอักษรจีน เป็นสิ่งทีจำเป็นที่จะต้องรู้และจำ เพราะนอกจากจะทำให้เขียนตัวอักษรจีนได้ถูกต้องแล้วยังมีความสำคัญในการมี ส่วนช่วยในการเปิดพจนานุกรมอีกด้วย โครงสร้างอักษรจีน สามารถแบ่งได้ 14 รูปแบบ ดังนี้

  1. โครงสร้างซ้ายขวา เช่น 挣、伟、休、妲

  2. โครงสร้างบนล่าง เช่น    志、苗、字、胃

  3. โครงสร้างซ้ายกลางขวา เช่น 彬、湖、棚、椭

  4. โครงสร้างบนกลางล่าง เช่น 奚、髻、禀、亵

  5. โครงสร้างขวา คลุมครึ่งบนเช่น 句、可、司、式

  6. โครงสร้างซ้าย คลุมครึ่งบน เช่น  庙、病、房、尼

  7. โครงสร้าง ซ้าย คลุมครึ่งล่าง เช่น 建、连、毯、尴

  8. โครงสร้าง ขวา คลุมครึ่งล่าง เช่น 斗

  9. โครงสร้างครอบบน เช่น 同、问、闹、周

 10.โครง สร้างครอบล่าง เช่น 击、凶、函、画

 11. โครงสร้างครอบข้างซ้าย เช่น 区、巨、匝、匣

 12. โครงสร้างกรอบครอบ เช่น 囚、团、因、囹

 13. โครงสร้างเดี่ยว เช่น 丈、甲、且、我

 14. โครงสร้างพิเศษ เช่น 坐、爽、夹、噩


หรือ
 
เส้นนอน ลากจากซ้ายไปทางขวา
  เส้นลากลงไปทางซ้าย ลากจาก บนขวา ลงไป ล่างซ้าย
  เส้นลากลงไปทางขวา ลากจาก บนซ้าย ลงไป ล่างขวา
  จุด ลากจากบน ลงล่างขวา (ลากจากบน ลงล่างซ้าย)
  เส้นตรงดิ่ง จากบนลงล่าง
  เส้นขีดบางเส้นลากตวัดเป็นรูปตะขอ
  เส้นลากขึ้นไปทางขวา ลากจากล่างซ้ายไปบนขวา
  เส้นขีดหักมุม มี 2 แบบ เส้นนอนหักลง เส้นดิ่งลากลงหักขวา


ตัวอย่างเส้นขีด ที่แปรผันจากเส้นขีดที่ตวัดเป็นรูปตะขอ (gou) 

  เส้น นอนที่ตวัดเป็นตะขอลง
  เส้น ตั้งที่ตวัดเป็นตะขอซ้าย
  เส้น โค้งยาวงอเป็นรูปตะขอขวา
  เส้น โค้งสั้นงอเป็นรูปตะขอขวา
  เส้น ตั้งงอที่ตวัดเป็นตะขอซ้าย

เส้นขีดผสมจากเส้น ขีดพื้นฐาน 8 ขีด

  เส้น นอนตวัดลงซ้าย
  เส้น นอนหักลงเป็นเส้นดิ่งแล้วตวัดเป็นตะขอ
  เส้น นอนหักลงแล้วตวัดขึ้นบนขวา
  เส้น นอนหักลงเป็นโค้งสั้นแล้วตวัดเป็นตะขอ
  เส้น นอนหักลงแล้วต่อด้วยเส้นโค้งล่างซ้ายตะขอ
  เส้น นอนหักลงแล้วต่อด้วยเส้นโค้งลงไปทางซ้าย
  เส้น ดิ่งแล้วงอไปทางขวาตวัดเป็นตะขอ
  เส้น ดิ่งลงหักขวาแล้วหักลงล่างตวัดเป็นตะขอ
  เส้น ดิ่งลงหักขวา
  เส้น ดิ่งลงแล้วลากขึ้นบนขวา
  เส้น ลากลงล่างซ้ายแล้วหักเป็นเส้นนอนไปทางขวา
  เส้น ลากลงล่างซ้ายแล้วลากลงขวาล่างสั้น



กฎของลำดับเส้นขีด ในการเขียนตัวหนังสือจีน

ทั่วไปแล้ว ตัวหนังสือจีน จะมีมากกว่า 2 ขีด ดังนั้นจะเขียนตัวหนังสือจีน จะต้องมีลำดับการขีด

เส้นนอนก่อนเส้นตั้ง เส้นนอน หรือเส้นผสมที่มีเส้นนอนจะถูกเขียน ก่อน เส้นดิ่งหรือเส้นลากลง ไม่ว่าซ้ายหรือขวา เช่น 

เส้นลากลงทางซ้าย ก่อนเส้นลากลงทางขวา เช่น

จากบน ลงล่าง เช่น 

จากซ้าย ไปขวา เช่น 

จากนอก เข้าใน เช่น 


ยกเว้น ส่วนประกอบที่ห่อหุ้มส่วนประกอบอื่น ไม่ว่าจะทางซ้าย, ขวา หรือ ล่างก็ตาม ส่วนประกอบที่ ถูกห่อหุ้มจะถูกเขียนก่อน เช่น
 

สรุป เส้นนอน ต้องลากจากซ้ายไปขวาเท่านั้น ไม่สามารถเขียนจากขวาไปซ้ายได้
เส้น ตรงดิ่ง ต้องลากจากบนลงล่างเท่านั้น ไม่สามารถลากเส้นจากล่างขึ้นบนได้
เส้น ลากลงทางขวา ต้องลากจากบนซ้ายลงล่างขวา ไม่สามารถลากจากล่างขวาขึ้นบนซ้ายได้
เส้นลากลงทางซ้าย ต้องลากจากบนขวาลงล่างซ้าย ไม่สามารถลากจากล่างซ้ายขึ้นบนขวาได้

ลักษณะเส้นขีด ผิดนิดเดียว ทำให้ตัวหนังสือเป็นคนละตัว
ตัวหนังสือประกอบไปด้วยจำนวนเส้นขีดและ ลักษณะเส้นขีดที่แน่นอน ดังนั้นการอ่านหรือเขียน ตัวหนังสือ ต้องมีความละเอียดในการสังเกตุลายเส้น เช่น
ตัวอย่าง 1 ตัว และ ต่างกันตรงขีดแรก ถ้าเป็นขีดเส้นนอน (heng2) จะเป็น ออกเสียง (tian1) หมายถึง ท้องฟ้า, สวรรค์ แต่ถ้าขีดแรกเป็นเส้นลากจากขวาบน ลงซ้ายล่าง (pie3) จะเป็น ซึ่งออกเสียง yao1 หมายถึง ตายตอนอายุน้อย ก่อนเวลาควรจะเป็น

ความยาวของเส้นขีด และช่องว่างระหว่างขีด ก็มีผลทำให้เป็นตัวหนังสือคนละตัว 
ตัวอย่าง 2 ตัว ใน 
ถ้าขีด สั้น ก็จะเป็น ซึงออกเสียง (ru4) หมายถึง เข้า, ร่วม แต่ถ้ามีช่องว่างระหว่าง เส้นก็จะเป็น ออกเสียง (ba1) หมายถึง แปด

และยังต้องให้ความสำคัญกับ การที่เส้นขีดสัมผัส หรือตัดกัน เช่น ตัว ตัดกับเส้นนอนเส้นแรก ก็จะกลายเป็นตัว ออกเสียง (fu1) หมายถึง สามี, ผู้ชาย

จำนวนเส้นขีดใน ตัวหนังสือ มีจำนวนแน่นอน ไม่สามารถเพิ่มหรือลดลงได้ เช่น ถ้าเพิ่มขีดเส้นนอน จะเป็น หรือ แต่ถ้าลดลงจะเป็น 

ตำแหน่งของขีด จะมีตำแหน่งแน่นอน การเปลี่ยนตำแหน่งของเส้นขีด จะทำให้เป็นตัวหนังสือคนละ ตัว เช่น ส่วนประกอบ 2 ส่วนของตัว ถ้าสลับกันจะเป็น ซึ่งออกเสียงเป็น pei2 หมายถึง พาเที่ยว
แต่ถ้า เราใส่ตำแหน่งจุดเปลี่ยนไป เช่นจาก เป็น ก็จะออกเสียง (ฉวน quan3) หมายถึง สุนัข,หมา

ข้อยกเว้น กฎข้างต้นเป็นกฎทั่วไป ซึ่งมีปลีกย่อยซึ่งเป็นข้อที่ไม่ได้ถูกครอบคลุมโดยกฎดังกล่าว เช่น
เช่น กรณีเป็นสี่เหลี่ยมปิด ให้เขียนเส้นแรกของกรอบนอกก่อน แล้วจึงเขียนส่วนที่ถูกห่อหุ้มภายใน แล้วปิดกรอบนอก ด้วยเส้นนอนใต้สุด ดังตัวอย่าง


เส้นขีดกลางก่อนเส้นซ้ายขวา เมื่อมีเส้นขีดกลางที่อยู่ตรงกึ่งกลาง และเป็นตำแหน่งเด่น และไม่มีเส้นอื่นลากตัด หรือมีเส้นใต้ขีดกลางนั้น ให้ลากเส้นขีดกลางก่อน เช่น 


แต่ถ้ามีเส้นอื่น ลากตัดเส้นขีดกลาง หรือไม่มีเส้นอื่นอยู่ใต้เส้นขีดกลางนั้น ให้ลากเส้นตรงดิ่งหลังสุด (แทนที่จะลากก่อน)



ขอขอบคุณข้อมูลจาก www.jiewfudao.com และ
http://www.tlcthai.com/club/view_topic.php?club=china_chiness&club_id=1162&table_id=1&cate_id=525&post_id=2148

Share this